18 กุมภาพันธ์ 2558

>>Open House 2014 ๖๐ พรรษา มหามงคล สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ "เพาะพันธุ์วิชาชีพ : เพิ่มพูนความรู้ : เทคโนโลยีรักษาวัฒนธรรม : รักษาสิ่งแวดล้อม : สู่โลกอาชีพ" ช่วงประกวดผลงานวิชาโครงการ 16 ก.พ.2558

            คำสั่งวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรีที่ ๐๑๒๐/๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ Open House 2014 : ๖๐ พรรษา มหามงคล สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗
            ด้วยวิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี ได้กำหนดจัดงาน "Open House 2014 : ๖๐ พรรษา มหามงคล สมเด็จพระเทพฯ " ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ในวันอังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนิทรรศการเทิดพระเกียรติฯ และการนำเสนอผลงานของนักเรียน นักศึกษา ได้แก่ ผลงานรายวิชาโครงการ สิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ กิจกรรมถนนเทคโนโลยี การนำเสนอผลงานครู การแข่งขันหุ่นยนต์อาชีวะ และกิจกรรมการแนะแนวทางการศึกษาต่อและการมีงานทำ การรับสมัครนักเรียน นักศึกษา และการแสดงนิทรรศการของหน่วยงานและสถานประกอบการ VIEW

            นักเรียนระดับ ปวช.๓ และนักศึกษา ปวส.๒ นำผลงานวิชาโครงการมาประกวดในงาน Open House 2014 ในวันที่ ๑๖-๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ณ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี


            รองผู้อำนวยการ วิทยา สายเนตร กล่าวรายงานสรุปผลการประกวดผลงานวิชาโครงการของนักเรียน/นักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๗ ต่อผู้อำนวยการ พิสิทธิ์ พัฒนาอนุสรณ์ โดยผู้อำนวยการเป็นประธานในการมอบเกียรติบัตรให้กับนักเรียน/นักศึกษาที่ได้รับรางวัลในการประกวดในครั้งนี้
            ประเภทที่ ๑ (A) สิ่งประดิษฐ์ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต
            อันดับที่ ๑ Scoot Bike
                        นายจุมพล เอี่ยมสอาด ๕ ชย.๑
                        นายธนกร โพธิจินดา ๕ ชย.๑
            อันดับที่ ๒ อุปกรณ์นำทางผู้พิการทางสายตา
                        นายอดิศักดิ์ พรมศร ๕ ชทอ.๒
                        นายอนุพงษ์ เหลืองทอง ๕ ชทอ.๒
            อันดับที่ ๓ เครื่องจ่ายผงซักฟอกอัตโนมัติ
                        นายสหพล กลมวงษ์ ๕ ชก.ม.๖/๑
                        นายศรัณยู แต่งตามพันธ์ ๕ ชก.ม.๖/๑
            ประเภทที่ ๒ (B) สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ
            อันดับที่ ๑ เครื่องย้ำสายแอร์รถยนต์
                        นายแสงทอง ไม่มีนามสกุล ๕ ชย.๒ ทวิ
                        นายวรวัฒน์ ห่วงทอง ๕ ชย.๑
            อันดับที่ ๒ เครื่องนวดมะนาว
                        นายธนากร อุ่นแซม ๕ ชทอ.๒
                        นายยุทธนา ปิโย ๕ ชทอ.๑
                        นายภานุวัฒน์ เหลืองชัยพร ๕ ชทอ.๑
            อันดับที่ ๓ เครื่องลับดอกสว่าน
                        นายสฤษดิ์ ศรีเจริญ ๕ ชก.๑
            ประเภทที่ ๓ (C) สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
            อันดับที่ ๑ เครื่องร่อนตะแกรงทราย
                        นายปรัชญา ปทุมนันท์ ๓ ชส.๑
                        นายสิทธิพร คล้ายเจ๊ก ๓ ชส.๑
                        นายปิยบุตร กำยอด ๓ ชส.๑
            อันดับที่ ๒ ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
                        นายรุ่งสุวรรณ ศิริบุตร ๓ ชส.๑
                        นายอนุชา พัฒนกูลเกียรติ ๓ ชส.๑
                        นายชยุตพงษ์ ทองมณี ๓ ชส.๑
            ประเภทที่ ๔ (D) สิ่งประดิษฐ์ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
            อันดับที่ ๑ ปั๊มน้ำกังหันก้นหอย
                        นายภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ๓ ชช.๑
                        นายอนุพงษ์ ศรีต่างคำ ๓ ชช.๑
                        นายภานุวัฒน์ เหลืองประมวล ๓ ชช.๑
            อันดับที่ ๒ ตู้อบลมร้อนจากคอมแอร์
                        นายกัมพล จันทนุช ๓ ชซบ.๑
                        นายทศวรรษ ไทยผึ้ง ๓ ชซบ.๑
                        นายศุภชัย บุญรอด ๓ ชซบ.๑
            อันดับที่ ๓ กังหันเติมอากาศในบ่อเลี้ยงปลา
                        นายวัชรินทร์ ฟักทอง ๕ ชก.ม.๖/๑
                        นายภูมินทร์ หวังดี ๓ ชก.ม.๖/๒
            ประเภทที่ ๘ (H) สิ่งประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีการเกษตร
            อันดับที่ ๑ เครื่องผสมปุ๋ยเอนกประสงค์
                        นายโยธิน เสมสุข ๕ ชก.๑
                        นายพิสิษฐ์ สีทองวัฒนา ๕ ชก.๑
            อันดับที่ ๒ เครื่องแยกเมล็ดวัชพืชออกจากเมล็ดพันธุ์ข้าว
                        นายสหรัฐ ไกรเพช็ร ๕ ชทอ.๑
                        นายจักรชัย หอมเสมอ ๕ ชทอ.๑
            อันดับที่ ๓ เครื่องแยกขี้หนอนกับตัวหนอน
                        นายภาคภูมิ สังขะไชย ๕ ชตฟ.๑
                        นายฐากูล สุวรรณหาร ๕ ชตฟ.๑
            ประเภทที่ ๙ (I) สิ่งประดิษฐ์ด้านหัตถศิลป์
            อันดับที่ ๑ นาฬิกาบันทึกข้อมูล
                        นางสาวพัชรมัย น้ำใจตรง ๓ ชอญ.๑
                        นางสาวอุไรพร ผิวเกลี้ยง ๓ ชอญ.๑
                        นายนครินทร์ สอนใจ ๓ ชอญ.๑
            อันดับที่ ๒ Photo MEMORIES (ภาพทรงจำ)
                        นางสาวแสงระวี บุญชู ๓ ชอญ.๑
                        นายธนพล แก้วเกตุ ๓ ชอญ.๑
                        นางสาวเกศสุดา จอมกระโทก ๓ ชอญ.๑
            อันดับที่ ๓ ฝูงปลา
                        นายชวลิต นิ่มนวล ๓ ชส.๑
                        นายอัครพนธ์ คล้าย ๓ ชส.๑
                        นายภูธเนศ สีอหลิว ๓ ชส.๑
            ประเภทที่ ๑๐ (J) สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์
            อันดับที่ ๑ Application Android Clock
                        นายวิษณุ แพนแก้ว ๓ คธ.๑
            อันดับที่ ๒ โปรแกรมจัดการข้อมูลหอพัก
                        นายพิชิตชัย เชื่อมแช่ม ๓ คธ.๑
            อันดับที่ ๓ โปรแกรมคำนวณดัชนีมวลการ
                        นายชัชวีย์ บู่ตั้ง ๓ คธ.๑
            ประเภทที่ ๑๑ (K) สิ่งประดิษฐ์ประเภทกำหนดโจทย์การป้องกันและแก้ไขปัญหาขยะ
            อันดับที่ ๑ LED Body ฟลูออเรสเซนต์
                        นายณัฐพงษ์ คงควร ๕ ชตฟ.๑
            อันดับที่ ๒ จักรยานเก็บขยะบนผิวน้ำ
                        นายกิตติวุฒิ กระแสสินธิ์ ๓ ชซบ.๑
                        นายปวริศ สังขวิภาส ๓ ชซบ.๑
                        นายสันชัย ป้อมภา ๓ ชซบ.๑
                        นายอมต ศุภโชติการกุล ๓ ชซบ.๑
            อันดับที่ ๓ บล็อกปูพื้นทางเดินจากกล่องนม
                        นายจักรี พวงน้อย ๕ ชทอ.๒
                        นายชูเกียรติ บุษราคัมกุล ๕ ชทอ.๑


            มอบทุนการศึกษาจากมูลนิธิบิ๊กซี ๒๐,๐๐๐ บาท ๔ คน คนละ ๕,๐๐๐ บาท
            ๑.นายพชร น้ำใจตรง
            ๒.นายสัญชัย แก้วเขียว
            ๓.นายนัฐพงษ์ คงควร
            ๔.นายธันวา อาชีวะ


            สั่ง ณ วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๘